แรงต้านการยันของโช้ค (Compression damping)
เมื่อมีการสะเทือนหนักๆ โช้คอัพจะถูกบีบอัด คล้ายกับกดลูกโป่งไปบนถนน เป็นแรงต้านการยุบตัวในขณะที่โช้คยุบตัว ลองนึกดูขณะขับรถแล้วไปกระแทกกับอะไรสักอย่างนะครับ หากหน่วงน้อยไป รถจะกระเด้ง ถ้าหน่วงมากไป รถก็จะกระด้าง? สำหรับกันสะเทือนหลัง หากปรับแรงต้านให้น้อยมากๆ โช้คจะไม่ออกแรงต้านในส่วนนี้มากเกินไป ล้อจะเกาะถนนได้ดี ตรงกันข้ามถ้าปรับมาก อาจรู้สึกว่ากระด้าง? กลับกันหากเราปรับตรงนี้ให้อ่อน หน้ารถอาจยุบจากการเบรคได้ง่าย ซึ่งจะทำให้โช้คเหลือช่วงยุบนิดหน่อย ตรงกันข้ามถ้าปรับมากไปก็จะทำให้ลดอาการหน้ายุบ ทำให้โช้คเหลือช่วงยุบไว้ใช้อย่างเต็มที่ แต่หากเราปรับตรงนี้แข็งไปจะทำให้ความสามารถในการยึดเกาะพื้นผิวสูญเสียไป รู้สึกกระดอน
การดึงตัวในกระบอกโช้ค (REBOUND DAMPING)
เมื่อโช้คเกิดการยุบตัวเพื่อซับแรงกระแทกในจังหวะการยันของโช้คแล้ว โช้คอัพก็จะคืนตัวกลับมาตำแหน่งเดิม? เป็นการยืดกลับของกระบอก การยึดตัวกลับของโช้คมักมีการควบคุมอยู่แล้ว หากไม่มีการหน่วงของสปริงไว้เลย เวลาขับรถตกหลุมจะกระดอน ดีดตัว จะติดตั้งอยู่ตรงปลายของแกนโช้คทำให้เกิดความนุ่มนวลขณะขับขี่ซึ่งพบได้ในรถสัญชาติอเมริกัน หากปรับค่อนไปทางหนักวิ่งทางเรียบ หรือเข้าโค้งความเร็วสูงจะกระชับ ไม่ยุบยวบ แต่จะแข็งกระด้างหากเจอทางที่ไม่เรียบ? ในทางกลับกัน หากตั้งค่าความหนืดของจังหวะการยันของโช้คและ ความหนืดในกระบอกโช้คให้อ่อนก็จะได้ความนุ่มนวลหากเจอหลุมบ่อ?? แต่เข้าโค้งความเร็วสูงก็อาจจะไม่ปลอดภัย
ตัวควบคุมการยันของโช้ค
ชุดอุปกรณ์ที่ดีๆ จะมีตัวควบคุมการยันของโช้คเพื่อควบคุมแรงต้านและการหนืดของโช้ค โดยปกติการจะเป็นช่องเสียบไขควงบริเวณด้านบนของโช้คอัพและตัวแรงต้านการยันของโช้ค จะถูกบิดทั้งสองด้าน สำหรับชุดอุปรณ์ที่มีคุณภาพดีขึ้นมาอีกนิดจะแยกชุดควบคุมออกจากกัน เช่น? ข้ดีคือโช้คอัพทำงานดีกว่า (มีการบีบอัดและความหนืดในกระบอกโช้คที่ความเร็วต่ำ) หากเป็นขนาดใหญ่ (มีการบีบอัดและความหนืดในกระบอกโช้คที่ความเร็วสูง)
น็อตแหวนขนาดใหญ่เพื่อดันสปริงตามความต้องการ (Spring Pre-Load)
น็อตนี้จะพบได้ทั้งในระบบกันสะเทือนทั้งของรถ จยย. รวมถึงรถยนต์?? หากคุณเป็นผู้ขับรถ จยย. เองน็อตแหวนขนาดใหญ่นี้จะติดตั้งมาจากโรงงาน แต่หากต้องบรรทุกผู้โดยสารขนาดจะต้องลดลงเพราะมีน้ำหนักบรรทุกมาขึ้น การเพิ่มขนาดน็อตจะช่วยให้กระจายแรงได้